ตอนที่ 1: ภาพรวม ทำไมวัดพระธรรมกายถึงมักถูกโจมตีและถูกให้ร้าย?
(ปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติม 14 ธค. 59)
ตั้งแต่ข่าว การใช้ทุกวิถีทางที่จะบีบให้เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย หรือ หลวงพ่อธัมมชโย ให้ขาดจากความเป็นพระ หรือ ปาราชิก เรื่อยมาจนถึง ข่าวเรื่องรถเบ๊นซ์ของ สมเด็จช่วงฯ (เจ้าอาวาสวัดปากน้ำภาษีเจริญ ในฐานะพระอุปัชฌาย์ ของหลวงพ่อธัมมชโย) ปัญหาทั้งหมดทั้งมวลนั้น มีที่มาที่แสนยาวนานตลอด 30 ปีที่ผ่านมา ที่มีความพยายามจะล้ม วัดพระธรรมกายให้ได้
ตำนานอคติ 1: ยุคที่วัดถูกกล่าวหาว่าเป็นแหล่งซ่องสุมคอมมิวนิสต์
ตั้งแต่ข่าว การใช้ทุกวิถีทางที่จะบีบให้เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย หรือ หลวงพ่อธัมมชโย ให้ขาดจากความเป็นพระ หรือ ปาราชิก เรื่อยมาจนถึง ข่าวเรื่องรถเบ๊นซ์ของ สมเด็จช่วงฯ (เจ้าอาวาสวัดปากน้ำภาษีเจริญ ในฐานะพระอุปัชฌาย์ ของหลวงพ่อธัมมชโย) ปัญหาทั้งหมดทั้งมวลนั้น มีที่มาที่แสนยาวนานตลอด 30 ปีที่ผ่านมา ที่มีความพยายามจะล้ม วัดพระธรรมกายให้ได้
ปัญหาทั้งหมดทั้งมวลนั้น มีที่มาที่แสนยาวนานตลอด 30 ปีที่ผ่านมา ที่มีความพยายามจะล้ม วัดพระธรรมกายให้ได้
ภาพการก่อสร้างวัดพระธรรมกายในราวปี พ.ศ. 2520-2523 อ่านประวัติการสร้างวัดพระธรรมกายแบบย่อได้ที่
http://www.dhammakaya.net/รู้จักเรา/ประวัติความเป็นมา
http://www.dhammakaya.net/รู้จักเรา/ประวัติความเป็นมา
ตำนานอคติ 1: ยุคที่วัดถูกกล่าวหาว่าเป็นแหล่งซ่องสุมคอมมิวนิสต์
ความเชื่อของนักการเมือง ทหารระดับนายพลผู้มีอำนาจ ในยุคนั้น (พ.ศ. 2519-2525) มักมีความเชื่อว่าวัดพระธรรมกายคือแหล่งซ่องสุมของพรรคคอมมิวนิวส์ เนื่องจากเป็นสถานที่ที่มีผู้คนใส่ชุดขาวเดินทางเข้ามามาก เป็นวัดที่สามารถชักจูงคนเข้าวัดได้มาก ซึ่งมีหลายพันคนในวันอาทิตย์ รวมถึงในงานพิธีสำคัญๆ ของวัด
วัดในยุคนั้น ไม่ว่าว่าจะเป็นวัดใหญ่แค่ไหน หากไม่ใช่ช่วงที่มีพิธีสำคัญทางศาสนา ก็จะมีคนสนใจเข้าวัดเพียงหลักร้อยเท่่านั้น ดังนั้นการที่วัดพระธรรมกายสามารถจูงใจให้คนเข้าวัดได้ในระดับหลักพัน จนถึงทะลุถึงหลักหมื่นคน ย่อมเป็นเรื่องที่ถูกจับตา โดยนักการเมือง และสถาบันความมั่นคงของรัฐ
นอกจากนี้ทางหลวงพ่อธัมมชโยเอง ก็ไม่เคยมีแนวคิดยุ่งเกี่ยวกับการเมือง ไม่ว่านักการเมือง นายทหาร หน้าอิน หน้าพรหม หรือจะใหญ่มาจากไหน มาเข้ามาพบ และชักจูงหลวงพ่อฯ ให้เข้าเป็นฝ่าย หลวงพ่อท่านก็ไม่เคยสนใจ และจุดนี้เองก็ทำให้วัดพระธรรมกายได้รับอคติในทางลบๆ จากผู้มีอำนาจเหล่านั้นเป็นต้นมา
และเพราะจากข้อกล่าวหาว่าวัดฯ เป็นคอมมิวนิสต์นี้เอง บรรดาพ่อค้า นักธุรกิจ ผู้คนในยุคนั้น ยุคที่ข่าวสารยังถูกควบคุมโดยรัฐบาล (ปัจจุบันเปลี่ยนมาถูกควบคุมโดยนายทุน) ผู้ที่ตกข่าว ผู้ที่ไม่เคยมาวัด ก็ฟังข่าวลือ และมีอคติความเชื่อถือกับวัดพระธรรมกายในทางลบๆ เรื่อยมา
ในช่วงเวลาราวปี พ.ศ. 2525-2530 ได้มีเจ้าหน้าที่รัฐ หน่วยงานความมั่นคงรัฐ ได้แฝงตัวเข้ามาปะปนกับคนวัด เพื่อตรวจสอบ และสืบหาร่องรองต่างๆ ต่างก็พบว่า ข่าวการซ่องสุมคอมมิวนิสต์ "ไม่ได้เป็นความจริงแต่อย่างไร "
พอเจ้าหน้าที่รัฐเหล่านั้น ได้เข้าใจความเป็นจริง ประกอบกับการพบเห็นความเป็นระบระเบียบ รวมถึงความสะอาดของวัด และมารยาทที่ดีงามของคนวัดในยุคนั้น เขาก็เริ่มศรัทธาและชักจูงเพื่อนสนิท ญาติมิตรให้เข้ามาปฏิบัติธรรมเพิ่มมากขึ้น
ตำนานอคติ 2: โกงพื้นที่ชาวนา ...มาสร้างวัด
ความเชื่อผิดๆ จากผข่าวที่บิดเบือนของสือมวลชนที่นำออกเผยแพร่ข่าวในช่วงปีพ.ศ. 2529-2532 สร้างความคลางแคลงใจให้กับหลายๆ คนจนถึงทุกวันนี้ ว่าวัดโกงพื้นที่ชาวนา เอาเปรียบชาวนาเป็นต้น แต่ความเป็นจริง หาเป็นเช่นนั้นไม่
จุดเริ่มต้นของการขยายพื้นที่วัดพระธรรมกาย เริ่มมาจากในปี พ.ศ. 2527 เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา มีสาธุชนมาที่วัดพระธรรมกายครั้งละประมาณ 20,000 คน ทำให้พื้นที่วัดพระธรรมกาย 196 ไร่เดิม คับแคบไปถนัดใจ มีสาธุชนกลุ่มหนึ่ง เสนอความเห็นว่า ควรจะขยายพื้นที่ออกไปอีก จึงได้ให้มูลนิธิธรรมกายเข้ามาดำเนินการ เพื่อเตรียมงบจัดซื้อพื้นที่ประมาณ 2,000 ไร่เศษในบริเวณที่ติดกับพื้นที่ 196 ไร่เดิมของวัด เพื่อเตรียมเป็นสมบัติคู่พระพุทธศาสนาในภายภาคหน้า
ในขณะที่ความเป็นจริง การพกปืนของคนในวัดฯ เพียงเพื่อเป็นการป้องปราม จากกลุ่มแก๊งอันธพาลของหัวโจกละแวกนั้น ไม่ให้มาทำร้ายพระภิกษุ อุบาสก และอุบาสิกาภายในวัด
เพราะในหลายๆ เหตุการณ์ตั้งแต่มีปัญหาเรื่องที่ดิน ทั้งพระภิกษุ อุบาสก และอุบาสิกา ภายในวัด มักถูกทำร้าย ผู้มาวัดบางคนที่เป็นชาวบ้าน ไม่เว้นแม้แต่ ผู้หญิงและคนแก่ ก็ถูกทำร้ายบาดเจ็บตามไปด้วย เคยมีครั้งที่หนักจนถึงบาดเจ็บสาหัส ต้องช่วยกันหามส่งโรงพยาบาล
ความป่าเถื่อนของกลุ่มอันธพาลหัวโจกเหล่านั้น มีมากจนเกินกว่าจะใช้วิธีเจรจา หรือ สันติอหิงสากับคนใจบาปเหล่านี้ไหว และเพื่อป้องกันลดความเหิมเกริมของอันธพาลเหล่านี้ ทั้งพระและอุบาสก จึงต้องหาวิธีป้องปราม ทุกครั้งที่มีการรวมกลุ่มอันธพาลเตรียมบุกวัด หรือลอบเข้ามาในวัดเพื่อเตรียมทำร้ายคนในวัด ก็จะมีการยิงปืนขึ้นฟ้าเพื่อปรามให้เกิดความกลัว คนใจบาปเหล่านั้นจึงทยอยถอยออกไป
นอกจากปัญหาพิพาทกับแก๊งหัวโจกชาวนาแล้ว ยังมีปัญหาความโลภของเจ้าของที่เดิมเสริมอีกด้วย ชาวนาส่วนใหญ่ในระแวกนั้นราว 95% ให้ความร่วมมือกับวัดฯ ด้วยดี เพราะหลวงพ่อธัมมชโย ท่านเมตตาโดยจ่ายค่าชดเชยในการรื้อย้ายบ้านแต่ละหลังแก่ชาวนาเฉลี่ย 1-2 แสนบาทในสมัยนั้น (ราคาทองสมัยนั้นบาทละ 4,000-6,000 บาทเท่านั้น คิดดูว่าหลวงพ่อท่านให้มากมายขนาดไหน)
จุดนี้เป็นข้อมูลที่ถูกบิดเบือนโดยสื่อมวลชนหลายสำนัก เพราะชาวนาระแวกนั้นไม่ใช่เจ้าของที่ เป็นเพียงผู้เช่าที่ ดังนั้นมูลค่าเงินที่วัดให้ จึงไม่สามารถเทียบเท่ากับมูลค่าที่ดินจริงๆ ได้ แต่ข่าวจากสื่อมวลชนเอาจำนวนเงินที่บิดเบือดนี้ไปลงข่าวว่า วัดพระธรรมกายโกงชาวนา เพราะให้เงินชดเชยน้อยกว่ามูลค่าที่ดิน นี่คือความจริง ที่ไม่เคยถูกออกสื่อ และไม่เคยได้รับการแก้ไขโดยสื่อ
นอกจากนี้ยังมีความโลภของเจ้าของที่เดิม ที่ขอขึ้นราคาที่ดิน 100% จากข้อตกลงเดิม ซึ่งสมัยที่ตกลงซื้อขายและทางวัดฯ ได้รวบรวมกฐิน ผ้าป่า รายปี เพื่อผ่อนซื้อที่ดิน (สมัยนั้นบริเวณดังกล่าว ราคาที่ดินตกไร่ละราว 3-4 หมื่นบาทเท่านั้น) ราคา 2,000 ไร่ จะอยู่ที่ราว 50-60 ล้านบาท ..ก็ถูกขึ้นราคาไปราว 100 ล้านบาท โดยอ้างว่ามีคนมารอขอซื้อ เพื่อไปทำสนามกอล์ฟ และให้ราคาได้ดีกว่า
แต่ในท้ายสุดด้วยบุญบารมีของคุณยายอาจารย์ อุบาสิกา จันทร์ ขนนกยูง (ผู้ก่อตั้งวัดพระธรรมกาย) ก็สามารถรวบรวมทรัพย์ที่ได้รับบริจาคจากสารานุศิษย์ จนซื้อที่ดินนี้ได้เป็นผลสำเร็จ
(อ่านต่อเรื่องชาวนาอย่างละเอียดได้ใน บทความปัญหาเรื่องที่ดินระหว่างวัดพระธรรมกาย และชาวนาในช่วงปี พ.ศ. 2527-2532)
วัดในยุคนั้น ไม่ว่าว่าจะเป็นวัดใหญ่แค่ไหน หากไม่ใช่ช่วงที่มีพิธีสำคัญทางศาสนา ก็จะมีคนสนใจเข้าวัดเพียงหลักร้อยเท่่านั้น ดังนั้นการที่วัดพระธรรมกายสามารถจูงใจให้คนเข้าวัดได้ในระดับหลักพัน จนถึงทะลุถึงหลักหมื่นคน ย่อมเป็นเรื่องที่ถูกจับตา โดยนักการเมือง และสถาบันความมั่นคงของรัฐ
นอกจากนี้ทางหลวงพ่อธัมมชโยเอง ก็ไม่เคยมีแนวคิดยุ่งเกี่ยวกับการเมือง ไม่ว่านักการเมือง นายทหาร หน้าอิน หน้าพรหม หรือจะใหญ่มาจากไหน มาเข้ามาพบ และชักจูงหลวงพ่อฯ ให้เข้าเป็นฝ่าย หลวงพ่อท่านก็ไม่เคยสนใจ และจุดนี้เองก็ทำให้วัดพระธรรมกายได้รับอคติในทางลบๆ จากผู้มีอำนาจเหล่านั้นเป็นต้นมา
และเพราะจากข้อกล่าวหาว่าวัดฯ เป็นคอมมิวนิสต์นี้เอง บรรดาพ่อค้า นักธุรกิจ ผู้คนในยุคนั้น ยุคที่ข่าวสารยังถูกควบคุมโดยรัฐบาล (ปัจจุบันเปลี่ยนมาถูกควบคุมโดยนายทุน) ผู้ที่ตกข่าว ผู้ที่ไม่เคยมาวัด ก็ฟังข่าวลือ และมีอคติความเชื่อถือกับวัดพระธรรมกายในทางลบๆ เรื่อยมา
ในช่วงเวลาราวปี พ.ศ. 2525-2530 ได้มีเจ้าหน้าที่รัฐ หน่วยงานความมั่นคงรัฐ ได้แฝงตัวเข้ามาปะปนกับคนวัด เพื่อตรวจสอบ และสืบหาร่องรองต่างๆ ต่างก็พบว่า ข่าวการซ่องสุมคอมมิวนิสต์ "ไม่ได้เป็นความจริงแต่อย่างไร "
พอเจ้าหน้าที่รัฐเหล่านั้น ได้เข้าใจความเป็นจริง ประกอบกับการพบเห็นความเป็นระบระเบียบ รวมถึงความสะอาดของวัด และมารยาทที่ดีงามของคนวัดในยุคนั้น เขาก็เริ่มศรัทธาและชักจูงเพื่อนสนิท ญาติมิตรให้เข้ามาปฏิบัติธรรมเพิ่มมากขึ้น
ตำนานอคติ 2: โกงพื้นที่ชาวนา ...มาสร้างวัด
ความเชื่อผิดๆ จากผข่าวที่บิดเบือนของสือมวลชนที่นำออกเผยแพร่ข่าวในช่วงปีพ.ศ. 2529-2532 สร้างความคลางแคลงใจให้กับหลายๆ คนจนถึงทุกวันนี้ ว่าวัดโกงพื้นที่ชาวนา เอาเปรียบชาวนาเป็นต้น แต่ความเป็นจริง หาเป็นเช่นนั้นไม่
จุดเริ่มต้นของการขยายพื้นที่วัดพระธรรมกาย เริ่มมาจากในปี พ.ศ. 2527 เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา มีสาธุชนมาที่วัดพระธรรมกายครั้งละประมาณ 20,000 คน ทำให้พื้นที่วัดพระธรรมกาย 196 ไร่เดิม คับแคบไปถนัดใจ มีสาธุชนกลุ่มหนึ่ง เสนอความเห็นว่า ควรจะขยายพื้นที่ออกไปอีก จึงได้ให้มูลนิธิธรรมกายเข้ามาดำเนินการ เพื่อเตรียมงบจัดซื้อพื้นที่ประมาณ 2,000 ไร่เศษในบริเวณที่ติดกับพื้นที่ 196 ไร่เดิมของวัด เพื่อเตรียมเป็นสมบัติคู่พระพุทธศาสนาในภายภาคหน้า
ข่าวที่บิดเบือนของสือมวลชนที่นำออกเผยแพร่ข่าวในช่วงปีพ.ศ. 2529-2532 สร้างความคลางแคลงใจให้กับหลายๆ คนจนถึงทุกวันนี้ ว่าวัดโกงพื้นที่ชาวนา เอาเปรียบชาวนาเป็นต้น แต่ความเป็นจริง หาเป็นเช่นนั้นไม่!
และกว่าจะได้พื้นที่ 2,000 ไร่นี้ ก็มีความยากลำบากแสนเข็ญ ตั้งแต่การมีปัญหากับชาวนาหัวโจกในบริเวณนั้น ที่บุกเผาและทำลายสิ่งของมากมายในวัด แต่ภาพสื่อที่หนังสือพิมพ์ที่มุ่งทำลายวัดพระธรรมกายพาดหัวข่าว กลับเป็นภาพพระ/อุบาสกพกปืนไรเฟิล เพื่อขู่ชาวนา บิดเบือนข้อเท็จจริง สร้างภาพเสียๆ ให้วัดพระธรรมกาย ในขณะที่ความเป็นจริง การพกปืนของคนในวัดฯ เพียงเพื่อเป็นการป้องปราม จากกลุ่มแก๊งอันธพาลของหัวโจกละแวกนั้น ไม่ให้มาทำร้ายพระภิกษุ อุบาสก และอุบาสิกาภายในวัด
ความป่าเถื่อนของกลุ่มอันธพาลหัวโจกเหล่านั้น มีมากจนเกินกว่าจะใช้วิธีเจรจา หรือ สันติอหิงสากับคนใจบาปเหล่านี้ไหว ทุกครั้งที่มีการรวมกลุ่มอันธพาลเตรียมบุกวัด ก็จะมีการยิงปืนขึ้นฟ้าเพื่อปรามให้เกิดความกลัว คนใจบาปเหล่านั้นจึงทยอยถอยออกไป
เพราะในหลายๆ เหตุการณ์ตั้งแต่มีปัญหาเรื่องที่ดิน ทั้งพระภิกษุ อุบาสก และอุบาสิกา ภายในวัด มักถูกทำร้าย ผู้มาวัดบางคนที่เป็นชาวบ้าน ไม่เว้นแม้แต่ ผู้หญิงและคนแก่ ก็ถูกทำร้ายบาดเจ็บตามไปด้วย เคยมีครั้งที่หนักจนถึงบาดเจ็บสาหัส ต้องช่วยกันหามส่งโรงพยาบาล
ความป่าเถื่อนของกลุ่มอันธพาลหัวโจกเหล่านั้น มีมากจนเกินกว่าจะใช้วิธีเจรจา หรือ สันติอหิงสากับคนใจบาปเหล่านี้ไหว และเพื่อป้องกันลดความเหิมเกริมของอันธพาลเหล่านี้ ทั้งพระและอุบาสก จึงต้องหาวิธีป้องปราม ทุกครั้งที่มีการรวมกลุ่มอันธพาลเตรียมบุกวัด หรือลอบเข้ามาในวัดเพื่อเตรียมทำร้ายคนในวัด ก็จะมีการยิงปืนขึ้นฟ้าเพื่อปรามให้เกิดความกลัว คนใจบาปเหล่านั้นจึงทยอยถอยออกไป
นอกจากปัญหาพิพาทกับแก๊งหัวโจกชาวนาแล้ว ยังมีปัญหาความโลภของเจ้าของที่เดิมเสริมอีกด้วย ชาวนาส่วนใหญ่ในระแวกนั้นราว 95% ให้ความร่วมมือกับวัดฯ ด้วยดี เพราะหลวงพ่อธัมมชโย ท่านเมตตาโดยจ่ายค่าชดเชยในการรื้อย้ายบ้านแต่ละหลังแก่ชาวนาเฉลี่ย 1-2 แสนบาทในสมัยนั้น (ราคาทองสมัยนั้นบาทละ 4,000-6,000 บาทเท่านั้น คิดดูว่าหลวงพ่อท่านให้มากมายขนาดไหน)
จุดนี้เป็นข้อมูลที่ถูกบิดเบือนโดยสื่อมวลชนหลายสำนัก เพราะชาวนาระแวกนั้นไม่ใช่เจ้าของที่ เป็นเพียงผู้เช่าที่ ดังนั้นมูลค่าเงินที่วัดให้ จึงไม่สามารถเทียบเท่ากับมูลค่าที่ดินจริงๆ ได้ แต่ข่าวจากสื่อมวลชนเอาจำนวนเงินที่บิดเบือดนี้ไปลงข่าวว่า วัดพระธรรมกายโกงชาวนา เพราะให้เงินชดเชยน้อยกว่ามูลค่าที่ดิน นี่คือความจริง ที่ไม่เคยถูกออกสื่อ และไม่เคยได้รับการแก้ไขโดยสื่อ
นอกจากนี้ยังมีความโลภของเจ้าของที่เดิม ที่ขอขึ้นราคาที่ดิน 100% จากข้อตกลงเดิม ซึ่งสมัยที่ตกลงซื้อขายและทางวัดฯ ได้รวบรวมกฐิน ผ้าป่า รายปี เพื่อผ่อนซื้อที่ดิน (สมัยนั้นบริเวณดังกล่าว ราคาที่ดินตกไร่ละราว 3-4 หมื่นบาทเท่านั้น) ราคา 2,000 ไร่ จะอยู่ที่ราว 50-60 ล้านบาท ..ก็ถูกขึ้นราคาไปราว 100 ล้านบาท โดยอ้างว่ามีคนมารอขอซื้อ เพื่อไปทำสนามกอล์ฟ และให้ราคาได้ดีกว่า
แต่ในท้ายสุดด้วยบุญบารมีของคุณยายอาจารย์ อุบาสิกา จันทร์ ขนนกยูง (ผู้ก่อตั้งวัดพระธรรมกาย) ก็สามารถรวบรวมทรัพย์ที่ได้รับบริจาคจากสารานุศิษย์ จนซื้อที่ดินนี้ได้เป็นผลสำเร็จ
(อ่านต่อเรื่องชาวนาอย่างละเอียดได้ใน บทความปัญหาเรื่องที่ดินระหว่างวัดพระธรรมกาย และชาวนาในช่วงปี พ.ศ. 2527-2532)
ตำนานอคติ 3: หลอกเงินคนทำบุญ เพื่อสร้างสภาธรรมกายสากล+มหาธรรมกายเจดีย์
ช่วงปี 2540-2542 นั่นก็ถือได้ว่า เป็นอีกช่วงที่หนักหน่วงต่อการตกเป็นหน้าข่าวทั้งหนังสือพิมพ์ และทีวี และในยุคนั้น อินเทอร์เน็ตยังไม่ได้แพร่หลายในเมืองไทย ยุคนั้นผมยังจำได้ว่า ผมต้องเสียเงินค่าใช้เล่นอินเทอร์เน็ต ชม. ละ 70 บาท และค่าโทรศัพท์อีก 3 บาท**
ที่ต้องเกริ่นไว้แบบนี้ เพราะนักข่าว และสื่อโปเก ทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นเดลินิวส์ สยามรัฐ บางกอกโพสต์ ผู้จัดการ ข่าวสด ITV (ยุคที่สุภาพ คลี่กระจายบริหาร ซึ่งมีการคอรัปชั่นอย่างมโหราฬ) เขียนข่าวได้ตามอำเภอใจ โดยไม่สนใจว่าความจริงคืออะไร และผู้คนโดยทั่วไป ก็รับรู้ข่าวได้จากทางสื่อหลักๆ เท่านั้น สื่อในยุคนั้น จึงมีอำนาจในการชี้เป็นชี้ตายใครก็ได้...ตามใบสั่งของผู้มีอำนาจ
ยุคนั้นเป็นยุคที่ทางวัดพระธรรมกายดำเนินการก่อสร้าง สภาพธรรมกายสากล (พื้นที่ 200 ไร่) และ มหาธรรมกายเจดีย์ (กินพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร โดยประมาณ) ต้องใช้งบประมาณในการก่อสร้างราว 3-4 หมื่นล้านบาท ทุกบาททุกสตางค์ มาจากเงินบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธาล้วนๆ
สาเหตุที่ต้องสร้างสิ่งก่อสร้างใหญ่โตนั้น ก็เพื่อเตรียมพร้อมการรองรับพุทธบริษัทสี่ ที่จะเดินทางมาจากทุกสารทิศทั้งจากในประเทศไทยเอง และจากชาวพุทธทั่วโลก
ยุคนั้นมีคนเข้าวัดในอาทิตย์ต้นเดือนราวๆ 100,000 คนแล้ว หลวงพ่อธัมมชโย จึงมีดำริให้ก่อสร้างศาสนาสถานให้รองรับคนให้ได้ 1 ล้านคน เพราะวัดมีงบน้อย การก่อสร้าง ควรทำเพียงครั้งเดียว ไม่ควรสร้างแล้วรื้อ รื้อแล้วสร้างใหม่ ตามการขยายตัวของวัด เพราะทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ และทำให้เสียศรัทธาต่อญาติโยมที่เคยบริจาคมา (คนที่เคยบริจาคศาลา โบสถ์ ตามวัดบางที่ คงทราบดี บางทีสถานที่ก่อสร้างบริจาคในนามชื่อเราทั้งหลัง ถูกทุบโดยไม่บอกกล่าวเราในฐานะผู้บริจาค ทำให้เสียความรู้สึก+ศรัทธา อย่างมาก เพราะการสร้างแล้วรื้อ รื้อแล้วสร้างใหม่ แบบไม่มีแบบแผนการทำงานนั่นเอง)
ทางวัดฯ ไม่ได้ขู่เข็น หรือบังคับใดๆ กับผู้บริจาคทั้งสิ้น จะมีก็แต่บรรดาลูกศิษย์ลูกหาบางราย ที่อาจจะทำงานเอาจริงเอาจังต่อหน้าที่จนอาจล้ำเส้นไปถึงขั้นบังคับ+ขู่เข็ญ คนรอบข้าง ญาติมิตร ลูกน้อง คู่ค้า เพื่อนฝูงไปบ้าง จนลืมรักษาน้ำใจคนรอบข้าง เลยเป็นที่มาของข่าวหลอกเงินคนทำบุญ และสร้างความไม่พอใจกับผู้คนบางส่วนในสังคม (ที่ขาดความเข้าใจ หรือถูกการชักชวนโดยมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจากลูกศิษย์ของทางวัดฯ เอง)
จำได้ว่าสร้างองค์พระธรรมกายประจำตัว ยุคแรกๆ ต้องร่วมบุญ 10,000 บาทต่อองค์ ในขณะที่ทองคำสมัยนั้น บาทละ 6,000-6,5000 บาทเท่านั้น ถ้าเทียบเป็นมูลค่าเงินสมัยนี้ก็ตกราว 3-4 หมื่นบาทต่อองค์ ซึ่งก็นับว่ามากโขอยู่ สำหรับคนทำงานกินเงินเดือนในระดับทั่วๆ ไป
(คลิกเพื่ออ่านต่อเรื่องการก่อสร้างมหาธรรมกายเจดีย์)
** หมายเหตุ เป็นยุคการใช้อินเทอร์เน็ตแบบ dial-up คือต้องโทรศัพท์เข้าหา ISP ในการใช้อินเทอร์เน็ตแต่ละครั้ง ใช้เสร็จต้องตัดสาย ไม่งั้นจ่ายค่าเล่นเน็ต...บาน
ช่วงปี 2540-2542 นั่นก็ถือได้ว่า เป็นอีกช่วงที่หนักหน่วงต่อการตกเป็นหน้าข่าวทั้งหนังสือพิมพ์ และทีวี และในยุคนั้น อินเทอร์เน็ตยังไม่ได้แพร่หลายในเมืองไทย ยุคนั้นผมยังจำได้ว่า ผมต้องเสียเงินค่าใช้เล่นอินเทอร์เน็ต ชม. ละ 70 บาท และค่าโทรศัพท์อีก 3 บาท**
ที่ต้องเกริ่นไว้แบบนี้ เพราะนักข่าว และสื่อโปเก ทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นเดลินิวส์ สยามรัฐ บางกอกโพสต์ ผู้จัดการ ข่าวสด ITV (ยุคที่สุภาพ คลี่กระจายบริหาร ซึ่งมีการคอรัปชั่นอย่างมโหราฬ) เขียนข่าวได้ตามอำเภอใจ โดยไม่สนใจว่าความจริงคืออะไร และผู้คนโดยทั่วไป ก็รับรู้ข่าวได้จากทางสื่อหลักๆ เท่านั้น สื่อในยุคนั้น จึงมีอำนาจในการชี้เป็นชี้ตายใครก็ได้...ตามใบสั่งของผู้มีอำนาจ
ยุคนั้นเป็นยุคที่ทางวัดพระธรรมกายดำเนินการก่อสร้าง สภาพธรรมกายสากล (พื้นที่ 200 ไร่) และ มหาธรรมกายเจดีย์ (กินพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร โดยประมาณ) ต้องใช้งบประมาณในการก่อสร้างราว 3-4 หมื่นล้านบาท ทุกบาททุกสตางค์ มาจากเงินบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธาล้วนๆ
สาเหตุที่ต้องสร้างสิ่งก่อสร้างใหญ่โตนั้น ก็เพื่อเตรียมพร้อมการรองรับพุทธบริษัทสี่ ที่จะเดินทางมาจากทุกสารทิศทั้งจากในประเทศไทยเอง และจากชาวพุทธทั่วโลก
ทางวัดฯ ไม่ได้ขู่เข็น หรือบังคับใดๆ กับผู้บริจาคทั้งสิ้น จะมีก็แต่บรรดาลูกศิษย์ลูกหาบางราย ที่อาจจะทำงานเอาจริงเอาจังต่อหน้าที่จนอาจล้ำเส้นไปถึงขั้นบังคับ+ขู่เข็ญ คนรอบข้าง ญาติมิตร ลูกน้อง คู่ค้า เพื่อนฝูงไปบ้าง จนลืมรักษาน้ำใจคนรอบข้าง
ยุคนั้นมีคนเข้าวัดในอาทิตย์ต้นเดือนราวๆ 100,000 คนแล้ว หลวงพ่อธัมมชโย จึงมีดำริให้ก่อสร้างศาสนาสถานให้รองรับคนให้ได้ 1 ล้านคน เพราะวัดมีงบน้อย การก่อสร้าง ควรทำเพียงครั้งเดียว ไม่ควรสร้างแล้วรื้อ รื้อแล้วสร้างใหม่ ตามการขยายตัวของวัด เพราะทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ และทำให้เสียศรัทธาต่อญาติโยมที่เคยบริจาคมา (คนที่เคยบริจาคศาลา โบสถ์ ตามวัดบางที่ คงทราบดี บางทีสถานที่ก่อสร้างบริจาคในนามชื่อเราทั้งหลัง ถูกทุบโดยไม่บอกกล่าวเราในฐานะผู้บริจาค ทำให้เสียความรู้สึก+ศรัทธา อย่างมาก เพราะการสร้างแล้วรื้อ รื้อแล้วสร้างใหม่ แบบไม่มีแบบแผนการทำงานนั่นเอง)
ทางวัดฯ ไม่ได้ขู่เข็น หรือบังคับใดๆ กับผู้บริจาคทั้งสิ้น จะมีก็แต่บรรดาลูกศิษย์ลูกหาบางราย ที่อาจจะทำงานเอาจริงเอาจังต่อหน้าที่จนอาจล้ำเส้นไปถึงขั้นบังคับ+ขู่เข็ญ คนรอบข้าง ญาติมิตร ลูกน้อง คู่ค้า เพื่อนฝูงไปบ้าง จนลืมรักษาน้ำใจคนรอบข้าง เลยเป็นที่มาของข่าวหลอกเงินคนทำบุญ และสร้างความไม่พอใจกับผู้คนบางส่วนในสังคม (ที่ขาดความเข้าใจ หรือถูกการชักชวนโดยมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจากลูกศิษย์ของทางวัดฯ เอง)
จำได้ว่าสร้างองค์พระธรรมกายประจำตัว ยุคแรกๆ ต้องร่วมบุญ 10,000 บาทต่อองค์ ในขณะที่ทองคำสมัยนั้น บาทละ 6,000-6,5000 บาทเท่านั้น ถ้าเทียบเป็นมูลค่าเงินสมัยนี้ก็ตกราว 3-4 หมื่นบาทต่อองค์ ซึ่งก็นับว่ามากโขอยู่ สำหรับคนทำงานกินเงินเดือนในระดับทั่วๆ ไป
(คลิกเพื่ออ่านต่อเรื่องการก่อสร้างมหาธรรมกายเจดีย์)
** หมายเหตุ เป็นยุคการใช้อินเทอร์เน็ตแบบ dial-up คือต้องโทรศัพท์เข้าหา ISP ในการใช้อินเทอร์เน็ตแต่ละครั้ง ใช้เสร็จต้องตัดสาย ไม่งั้นจ่ายค่าเล่นเน็ต...บาน
ตำนานอคติ 4: หลวงพ่อธัมมชโย ถูกสั่งให้ปาราชิก จากพระสังฆราชรายละเอียดไปดูได้ที่นี่พร้อมภาพหลักฐานเลยครับ ถ้าอยากรู้ละเอียดๆ ให้เตรียมเวลาสำหรับอ่านข้อมูลไว้เลยครับราว 2 ชม.
http://buddhism2559.blogspot.jp/2016/04/001.html?m=1
ตำนานอคติ 5: โกงเงินสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่นจนล้มละลาย
เป็นเหตุการณ์บานปลายเริ่มต้นมาตั้งปี พ.ศ. 2556 - 2559 จนถึงปัจจุบันก็ดูไม่มีทีท่าว่าจะจบสิ้น หรือยุติ คุณผู้อ่าน สามารถดูในรายละเอียด เรื่องเส้นทางการเงินได้ที่บทความ
http://กรณีธรรมกาย.blogspot.com
http://buddhism2559.blogspot.jp/2016/04/001.html?m=1
ตำนานอคติ 5: โกงเงินสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่นจนล้มละลาย
เป็นเหตุการณ์บานปลายเริ่มต้นมาตั้งปี พ.ศ. 2556 - 2559 จนถึงปัจจุบันก็ดูไม่มีทีท่าว่าจะจบสิ้น หรือยุติ คุณผู้อ่าน สามารถดูในรายละเอียด เรื่องเส้นทางการเงินได้ที่บทความ
http://กรณีธรรมกาย.blogspot.com